รวมคำถามที่พบบ่อย
เป็นผู้ใช้ไฟฟ้าของ กฟน.
ประเภท 3 กิจการขนาดกลาง
ประเภท 4 กิจการขนาดใหญ่
และประเภท 5 กิจการเฉพาะอย่าง
ประเภท 4 กิจการขนาดใหญ่
และประเภท 5 กิจการเฉพาะอย่าง
ที่มีเครื่องวัดฯ ที่สามารถบันทึก Load Profile ได้
โดยต้องลดการใช้ไฟฟ้าเมื่อมีการร้องขอไม่น้อยกว่า 100 กิโลวัตต์ต่อครั้ง ในแต่ละช่วงวันเหตุการณ์
โดยต้องลดการใช้ไฟฟ้าเมื่อมีการร้องขอไม่น้อยกว่า 100 กิโลวัตต์ต่อครั้ง ในแต่ละช่วงวันเหตุการณ์
ผู้ สนใจที่เป็นผู้ใช้ไฟฟ้าของ กฟน. ประเภทกิจการขนาดกลาง หรือ กิจการขนาดใหญ่ หรือกิจการเฉพาะอย่าง และประสงค์จะทำการลดการใช้ไฟฟ้าได้ไม่ต่ำกว่า 100 กิโลวัตต์ต่อช่วงเวลาที่แจ้งในใบสมัคร สามารถมาทำการยื่นใบสมัครก่อน จากนั้นการไฟฟ้านครหลวงจะทำการตรวจสอบคุณสมบัติของเครื่องวัดในการเก็บ ข้อมูล Load Profile แล้วจะแจ้งให้ทราบต่อไป
นอกจาก One Stop Service of Demand Response แล้ว ผู้สนใจเข้าร่วมโครงการฯ
สามารถติดต่อได้ที่ นายพรศักดิ์ อุดมทรัพยากุล ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายเศรษฐกิจพลังงาน ผู้บริหารโครงการฯ ของ กฟน.
เบอร์มือถือ 081-343-0823 และ นายอำพล สงวนวงศ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการกองอัตราค่าไฟฟ้าและพยากรณ์พลังไฟฟ้า เบอร์มือถือ 081-914-2980
สามารถติดต่อได้ที่ นายพรศักดิ์ อุดมทรัพยากุล ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายเศรษฐกิจพลังงาน ผู้บริหารโครงการฯ ของ กฟน.
เบอร์มือถือ 081-343-0823 และ นายอำพล สงวนวงศ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการกองอัตราค่าไฟฟ้าและพยากรณ์พลังไฟฟ้า เบอร์มือถือ 081-914-2980
หรืออาจใช้ช่องทาง MEA Call Center โทร 1130 ที่รองรับการติดต่อผู้ใช้ไฟฟ้าได้เป็นจำนวนมาก ซึ่งผู้สนใจอาจใช้ช่องทางนี้ในการประสานเพื่อสอบถามข้อมูลเบื้องต้น
กฟน. จะประกาศผู้ที่มีสิทธิเข้าร่วมโครงการฯ ตามการพิจารณาของคณะทำงานบริหารจัดการความต้องการใช้ไฟฟ้า โดย กกพ. ทางเว็บไซต์ กฟน. www.mea.or.th และผู้สมัครยังสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ One Stop Service of Demand Response
กฟน. จะคำนวณผลการลดใช้ไฟฟ้า ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในเอกสารโครงการ Demand Response ที่กำหนดโดย กกพ. ซึ่งท่านสามารถดาวน์โหลดได้ทางเว็ปไซต์ กฟน. www.mea.or.th
เอกสารที่ใช้ในการยื่นใบสมัครได้แก่
- ใบสมัครเข้าร่วมโครงการ
- เอกสารประกอบการสมัครดังต่อไปนี้
- สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (ออกไม่เกิน 6 เดือน)
- สำเนาบัตรประชาชนของเจ้าของเครื่องวัดฯ หรือเจ้าของกิจการบริษัท หรือ ผู้มีอำนาจทำการนิติบุคคลตามที่ระบุในหนังสือรับรองการจดทะเบียนบุคคลชื่อ ตามที่แจ้งในใบสมัครในข้อ 7.1 หรือ 7.2 (กรณีให้ผู้อื่นลงนามแทน) ต้องมีหนังสือมอบอำนาจจากกรรมการนิติบุคคลผู้มีอำนาจลงนาม ติดอากรแตมป์ และสำเนาบัตรประชาชนของผู้ได้รับการมอบอำนาจ โดยหนังสือมอบอำนาจให้ทำการแทน 1 เรื่อง ติดอากรแสตมป์ 10 บาท หากมากกว่า 1 เรื่อง ติดอากรแสตมป์ 30
- สำเนาใบแจ้งค่าไฟฟ้า
One Stop Service Demand Response ณ ฝ่ายเศรษฐกิจพลังไฟฟ้า อาคาร 6 ชั้น 5 ที่ทำการการไฟฟ้านครหลวงเขตวัดเลียบ (เบอร์ติดต่อ 02 -220-5704 และ 02-220-5768)
ระหว่างวันที่ 23 - 31 มีนาคม 2558 (ยกเว้นวันเสาร์ และวันอาทิตย์) ตั้งแต่เวลา 08.00 - 15.00น.
วันที่มีการขอให้ทำการลดการใช้ไฟฟ้ามี 4 วันได้แก่วันที่ 10 16 17 18 และ 20 เมษายน 2558 โดยแต่ละวันมี 3 ช่วงเวลาได้แก่ 10.00 - 12.00 น.(2ชั่วโมง) 14.00 - 17.00 น.(3ชั่วโมง) และ 19.00 - 22.00น. (3ชั่วโมง) โดยให้ผู้สมัครแจ้งกำลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ที่ยินดีจะลดในแต่ละช่วงลง ในใบสมัคร (แต่ละช่วงที่กรอกต้องไม่ต่ำกว่า 100กิโลวัตต์) ผู้สมัครสามารถเลือกลดการใช้ไฟฟ้าเพียงบางช่วงได้ (เช่น ผู้สมัครสามารถเลือกเฉพาะวันที่ 10 เมษายน 2558 ช่วงเวลา10.00 - 12.00น. และ 19.00 - 22.00น.โดยไม่เลือกช่วงอื่นเลย)
ไม่ได้ ผู้สมัครต้องยึดระยะเวลาเร่ิมต้นและสิ้นสุดของช่วงเวลาของการลดการใช้ไฟฟ้าตามที่แสดงในตารางข้อ 10.2 ในใบสมัครเท่านั้น
กฟน. ยังมีการรับสมัครผ่านการจัดบูธในงาน “เปิดนโยบายและเทคนิคการลงทุนพลังงานทดแทนไทย ปี 58” ในวันที่ 23 มีนาคม 2558 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ทั้งนี้โดยความร่วมมือและการสนับสนุนจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ไม่ได้ ผู้สนใจต้องสมัครเข้าร่วมโครงการผ่านหน่วยงานการไฟฟ้าที่ตนเองเป็นมีสถานะ เป็นผู้ใช้ไฟฟ้า/ลูกค้าอยู่เท่านั้น จะสมัครข้ามหน่วยงานไม่ได้
“วัน SCOD” หมายความว่า กำหนดวันจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ที่ระบุในสัญญาซื้อขายไฟฟ้า (Scheduled Commercial Operation Date)
“วัน COD” หมายความว่า วันจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ (Commercial Operation Date)
ขั้นตอนที่ผู้ผลิตไฟฟ้าจะต้องดำเนินการตามลำดับ มีดังนี้
- ขอใบอนุญาตตามที่กฎหมายกำหนด (ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ข้อ 1.1 ระบุว่า “จะเริ่มรับซื้อไฟฟ้าตั้งแต่วันที่ COD และก่อนการรับซื้อไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์จะต้องนำใบอนุญาตตามที่กฎหมาย กำหนดมาแสดงต่อ กฟน. ด้วย”) โดยมีขั้นตอน คือ
- ยื่น Online ลงทะเบียนแจ้งยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาต (Solar Rooftop) ที่ สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
- ขออนุญาตดัดแปลงอาคาร กับ กกพ.
- เมื่อ ผู้ผลิตไฟฟ้าได้รับหนังสือรับแจ้งยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาต (Solar Rooftop) แล้วให้นำสำเนาหนังสือรับแจ้งฯ แสดงต่อเจ้าหน้าที่ กฟน. (แผนกตรวจสอบสายภายใน การไฟฟ้านครหลวงเขตตามพื้นที่อาคารที่ติดตั้งแผงโฟโตโวลเทอิก) เพื่อนัดหมายให้เข้าตรวจสอบระบบผลิตไฟฟ้าในขั้นตอนต่อไป
- ให้ กฟน. ตรวจสอบระบบ ดังนี้
- ระบบผลิตไฟฟ้า (แผนกตรวจสอบสายภายใน การไฟฟ้านครหลวงเขตตามพื้นที่อาคารที่ติดตั้งแผงโฟโตโวลเทอิก)
- ระบบเชื่อมโยง (ติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า โดย แผนกบริการเครื่องวัด)
- จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ (COD)
- ยื่น Online ลงทะเบียนผ่านทาง website ของ สำนักงาน กกพ.
- ติดต่อที่ สำนักงาน กกพ. ประจำเขต 13 :
อาคาร WISH HOUSE ชั้น 1 เลขที่ 18/23 หมู่ที่ 10 ถนนนครอินทร์ ตำบลตลาดขวัญ
อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
โทรศัพท์ 02-525-2544-5 โทรสาร 02-525-2504 Call center 1204 หรือ www.erc.or.th
เมื่อผู้ผลิตไฟฟ้า Log in เข้าสู่ระบบ SRS แล้ว ภายในระบบจะมีรายละเอียดขั้นตอน ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งข้อมูลการติดต่อแผนกตรวจสอบสายภายใน การไฟฟ้านครหลวงเขตตามพื้นที่อาคารที่ติดตั้งแผงโฟโตโวลเทอิกของผู้ผลิต ไฟฟ้า (ในรายละเอียดเพิ่มเติมของ T3)
สามารถแจ้งผ่านทาง “ถาม-ตอบ” ด้านล่างหน้า website นี้
หรือโทรศัพท์ 02-220-5706-7 โทรสาร 02-220-5111 หรือ E-mail: srs@mea.or.th
หรือโทรศัพท์ 02-220-5706-7 โทรสาร 02-220-5111 หรือ E-mail: srs@mea.or.th